ภารกิจจัดระเบียบสายสื่อสารเส้นทองหล่อ-เพชรบุรีตัดใหม่

สำนักงาน กสทช. ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ การไฟฟ้านครหลวง ผู้ประกอบการโทรคมนาคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่จัดระเบียบสายสื่อสารบริเวณซอยทองหล่อ (สุขุมวิท 55) ตั้งแต่ถนนสุขุมวิท - ถนนเพชรบุรี ระยะทาง 5 กิโลเมตร

มาตรฐานของช่องสัญญาณกับมาตรฐานอุปกรณ์ นั้นต่างกันตรงไหน?

เมื่อพูดถึงมาตรฐานสายเคเบิลแล้ว คุณน่าจะเคยได้ยินมาตรฐานทั้งที่อิงตามช่องสัญญาณ (Channel) และที่อิงตามชิ้นส่วนอุปกรณ์ (Component) มาแล้วบ้าง ซึ่งมาตรฐานทั้งสองแบบนี้ไม่ใช่มาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นทาง Fluke จึงมาอธิบายความแตกต่างดังกล่าว พร้อมทั้งเหตุผลว่าทำไมเราต้องคำนึงถึงความต่างเหล่านี้

บทความน่ารู้ : สาย Dark Fibre คืออะไร?

Dark Fibre นี้ทำให้ผู้ให้บริการเครือข่ายมีระบบสายไฟเบอร์เพียงพอในเวลาที่ต้องการ ปกติแล้วการวางสายไฟเบอร์เอาไว้ให้เกินกว่าความต้องการปัจจุบันถือว่าจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อป้องกันกรณีที่ต้องลงทุนฝังสายไฟเบอร์เพิ่มสำหรับรองรับลูกค้าที่มากขึ้นในอนาคต

ดาวน์โหลดฟรี : E-book – ตอบคำถามทุกปัญหาสำคัญ ในการทำงานเกี่ยวกับสาย Fiber Optic

Fluke Networks ได้จัดทำ E-book (ฉบับภาษาไทย) เป็นการรวบรวมคำถามคำตอบที่เกิดขึ้นกับคนที่ทำงานด้าน Network และงานระบบสายสัญญาณไฟเบอร์ออปติก ให้คุณได้ดาวน์โหลดไปอ่านกันฟรีๆ โดยจะมีข้อมูลต่างๆ เช่น

Coaxial ใครว่าไม่สำคัญ? บางทีคุณอาจจะต้องทดสอบมันก็เป็นได้

สายเคเบิลอย่าง Coaxial (หรือบางคนจะเรียกสั้นๆ ว่า “Coax”) ได้ถูกนำมาใช้รับส่งสัญญาณทั้งข้อมูลและวิดีโอมายาวนาน และถือเป็นสื่อตัวแรกที่นำมาใช้สื่อสารในระบบอีเธอร์เน็ตแบบ 10BASE2 และ 10BASE5 ที่ส่งต่อด้วยความเร็ว 10 Mb/s ได้ระยะทาง 185 และ 500 เมตรตามลำดับ

Fluke Networks เปิดเผยความสามารถใหม่ บนเครื่อง LinkIQ™ Cable+Network Tester

Fluke Networks ได้ประกาศการอัปเกรดเครื่อง LinkIQ™ Cable+Network Tester ที่ได้ขยายความครอบคลุมความสามารถในการทดสอบและแก้ปัญหาบนเครือข่ายไอพี, การทดสอบสายเคเบิลอีเธอร์เน็ตอุตสาหกรรม, และรองรับผู้ใช้เพิ่มเป็นถึง 12 ภาษา

ข้อมูลน่ารู้ : สายเคเบิลพิเศษแบบไหนบ้าง ที่คุณควรใช้

ช่วงที่ผ่านมามีลูกค้าตั้งข้อสงสัยระหว่างการสาธิตการใช้งาน Fluke Networks OptiFiber® Pro OTDR และ CertiFiber® Pro OLTS ว่าทำไมเราถึงจำเป็นต้องใช้สายเคเบิลพิเศษเหล่านี้ในการตรวจวัดค่า แทนที่จะใช้สายเคเบิลสั้นแบบทั่วไปแทน

อนาคตที่กำลังใกล้เข้ามาของความเร็วระดับ 200 และ 400 กิกะบิต

เมื่อกล่าวถึงความเร็วระดับ 200 และ 400 กิกะบิตกันแล้ว ทาง IEEE ก็จำเป็นต้องพิจารณาทุกวิถีทางที่ทำให้เป็นไปได้ ในทุกรายละเอียดที่ช่วยให้รองรับการใช้งานหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่ลิงค์สั้นๆ ในดาต้าเซ็นเตอร์ ไปจนถึงลิงค์ระยะไกลของผู้ให้บริการที่ติดตั้งภายนอกอาคาร

ค่าการสูญเสียพลังงานภายในสาย (Insertion Loss) (ตอนที่ 1)

ค่าที่เรียกทางเทคนิคว่า Insertion Loss คือปริมาณพลังงานที่สัญญาณสูญเสียออกมาระหว่างวิ่งบนลิงค์สายเคเบิล ซึ่งเป็นเรื่องปกติธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับการส่งสัญญาณทุกประเภทอยู่แล้ว ไม่ว่าเป็นกระแสไฟฟ้าหรือสัญญาณข้อมูล การลดลงของความแรงสัญญาณที่เรียกว่า Attenuation หรือการลดทอนสัญญาณนั้นแปรผันตามความยาวของสายเคเบิล

บทความน่ารู้ : เครือข่ายไร้สาย 60 GHz: ทางเลือกใหม่ที่มาแทน LAN และ Fiber

ถ้าคุณกำลังวางแผนที่จะโยกงบประมาณด้านไอทีจำนวนมากเพื่อไปใช้กับการติดตั้งหรือยกระดับระบบสายเคเบิลแบบทองแดง สายไฟเบอร์ หรือระบบสัญญาณไมโครเวฟแกนหลักเบื้องหลังที่ยังใช้เทคโนโลยีเดิมๆ อยู่แล้วล่ะก็ ไม่ควรพลาดที่จะอ่านเรื่องราวต่อไปนี้:



View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า