ค่าการสูญเสียพลังงานภายในสาย (Insertion Loss) (ตอนจบ)

ถ้าค่าการสูญเสียพลังงานภายในสายสูงเกินในแต่ละรูปแบบการใช้งานก็อาจจะเป็นเพราะองค์ประกอบบนลิงค์ที่ไม่ได้คุณภาพ หรือมาจากการเชื่อมหรือเข้าหัวไม่ดีพอ เช่น การเสียบเข้าหัวต่อไม่ตรง หรือหน้าตัดสายสกปรก

ค่าการสูญเสียพลังงานภายในสาย (Insertion Loss) (ตอนที่ 1)

ค่าที่เรียกทางเทคนิคว่า Insertion Loss คือปริมาณพลังงานที่สัญญาณสูญเสียออกมาระหว่างวิ่งบนลิงค์สายเคเบิล ซึ่งเป็นเรื่องปกติธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับการส่งสัญญาณทุกประเภทอยู่แล้ว ไม่ว่าเป็นกระแสไฟฟ้าหรือสัญญาณข้อมูล การลดลงของความแรงสัญญาณที่เรียกว่า Attenuation หรือการลดทอนสัญญาณนั้นแปรผันตามความยาวของสายเคเบิล

ภารกิจจัดระเบียบสายสื่อสารเส้นทองหล่อ-เพชรบุรีตัดใหม่

สำนักงาน กสทช. ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ การไฟฟ้านครหลวง ผู้ประกอบการโทรคมนาคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่จัดระเบียบสายสื่อสารบริเวณซอยทองหล่อ (สุขุมวิท 55) ตั้งแต่ถนนสุขุมวิท - ถนนเพชรบุรี ระยะทาง 5 กิโลเมตร

Fluke Network แนะนำผลิตภัณฑ์ FiberLert™ เครื่องตรวจสัญญาณสายไฟเบอร์แบบ Realtime

ผลิตภัณฑ์  FiberLert™ Live Fiber Detector  เอาไว้ตรวจสอบกิจกรรม ขั้วสาย และการเชื่อมต่อของสายไฟเบอร์ได้อย่างรวดเร็ว  เพียงแค่เอามาไว้ตรงหน้าตัดสายหรือพอร์ต ก็จะส่องแสงและมีเสียงขึ้นมาให้รู้ว่าสายไฟเบอร์นั้นกำลังใช้งานอยู่ (ในช่วงตั้งแต่ 850 ถึง 1625 nm) โดยไม่ต้องติดตั้งหรือแปลผลแต่อย่างใด

แนะนำ LIQ-100 LinkIQ Cable + Network Tester พร้อมโปรโมชั่นพิเศษ!

LIQ-100 LinkIQ Cable + Network Tester ผลิตภัณฑ์ในการตรวจทดสอบสายสัญญาณ ช่วยลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบเครือข่ายของคุณ โดยมีคุณสมบัติเช่น

ข้อมูลน่ารู้ : วิธีทดสอบหัวแปลง SFP และสายเคเบิลที่เกี่ยวข้อง

ช่วงนี้เราได้คำถามจำนวนมากเกี่ยวการทดสอบหัวแปลงสัญญาณหรือทรานซีฟเวอร์แบบ SFP (Small Form-factor Pluggable) ว่าทำงานได้ตามต้องการหรือไม่ จึงเป็นที่มาของบทความนี้ ที่เราจะพูดถึง SFP ในแง่ของโมดูลสายไฟเบอร์หลากหลายรูปแบบที่มีให้ใช้ในท้องตลาด

การเลือกสายเคเบิลแบบ Stranded หรือ Solid Wire อันไหนเหมาะกับคุณ?

น่าจะพอคุ้นกันบ้างว่าสายเคเบิลทองแดงแบบบิดเกลียวคู่ทั้งแบบหุ้มและไม่หุ้มฉนวนต่างมีทั้งแบบมัดลวดย่อย (Stranded) กับแบบลวดเดี่ยวเส้นใหญ่ (Solid Wire) ซึ่งมีข้อควรพิจารณาในการตัดสินใจเลือกเยอะแยกมาก

เทคโนโลยี Single-Pair Ethernet (SPE) และสิ่งที่คาดจะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งต้องจับตา

SPE เข้ามาอยู่ในมาตรฐานระบบโครงสร้างพื้นฐานสายเคเบิลอย่าง ISO/IEC 11801 แล้วล่าสุดปี 2022 TIA ได้ปล่อยมาตรฐานชิ้นส่วน SPE สำหรับสภาพแวดล้อมการใช้งานเชิงพาณิชย์อย่าง ANSI/TIA-568.5 ให้สอดคล้องกับทาง ISO/IEC นอกจากนี้ยังมีการนำ SPE เข้าผนวกกับมาตรฐาน TIA-1005 สำหรับสายเคเบิลในโรงงานอุตสาหกรรม และมาตรฐาน TIA-862 สำหรับใช้งานในอาคารอัจฉริยะด้วย

5 กฎเหล็กด้านความปลอดภัยเมื่อต้องทำงานกับสายไฟเบอร์

มีอันตรายหลายแบบมากที่ต้องเฝ้าระวังเวลาทำงานกับเน็ตเวิร์กไม่ว่าจะเชิงพาณิชย์หรือตามโรงงานอุตสาหกรรม แม้สายใยแก้วนำแสงดูเผินๆ เหมือนปลอดภัย ไม่ได้นำกระแสไฟฟ้าเหมือนสายทองแดง

ทำความเข้าใจกับการตรวจความสมบูรณ์ของฉนวนสายเน็ตเวิร์ก

การทดสอบระบบสายเคเบิลแบบหุ้มปลอกตาข่าย (Screened) ที่หน้างานนั้น ผู้ทดสอบจำเป็นต้องตรวจให้แน่ใจว่ามีการหุ้มต่อเนื่องไปจนถึงปลายสาย อย่างไรก็ดี ก็มักพบการทดสอบหน้างานที่ไม่ได้ระบุความต่อเนื่องของปลอกตาข่ายหุ้มดีพอ




View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า