ข้อผิดพลาด 10 ประการ ในระบบอีเธอร์เน็ตอุตสาหกรรม แม้แต่คนเก่งก็ยังพลาดได้

Fluke Networks ได้ออกมาเล่าถึง 10 ปัญหาที่เลวร้ายที่สุดที่คุณอาจต้องเจอเวลาทำงานกับระบบอีเธอร์เน็ตอุตสาหกรรม พร้อมแนวทางในการระบุและแก้ปัญหา (หรือที่ดีที่สุดคือ การหลีกเลี่ยงตั้งแต่แรก) ก่อนที่อาจเกิดผลกระทบจนโรงงานต้องหยุดการทำงานได้ ดังนี้

การทดสอบเพื่อทำแผนผังสาย: ไม่ใช่เรื่องสีของสายอย่างเดียว

โดยทั่วไปแล้วเครื่องทดสอบสายเคเบิลแบบอีเธอร์เน็ตจะสามารถทดสอบเพื่อทำแผนผังการโยงสายหรือ Wire Map ได้ เสมือนเป็นการทดสอบที่พื้นฐานที่สุดสำหรับระบบสายเคเบิลแบบทองแดง แต่ถึงจะเป็นการทดสอบขั้นพื้นฐาน ก็ถือเป็นการทดสอบหนึ่งที่สำคัญมากที่สุดด้วย

ตามไปดู 8 สตาร์ทอัพที่เข้ามาเขย่าวงการเน็ตเวิร์กในปัจจุบัน

ยุคนี้วงการเน็ตเวิร์กได้เปลี่ยนการให้ความสำคัญจากฮาร์ดแวร์ไปยังซอฟต์แวร์กันหมด ไม่เว้นแม้แต่ยักษ์ใหญ่อย่างซิสโก้ นั่นหมายความว่า คนที่จะก้าวเข้ามาแย่งเค้กในตลาดเครือข่ายนี้ก็ไม่จำเป็นต้องพกเงินถุงเงินถังมาลงทุนกับฮาร์ดแวร์อีกต่อไป

ริบบอนปักหมุดประเทศไทย! นำเสนอโซลูชั่นด้านไอพีแบบหลอมรวมขั้นสูง ช่วยสร้างระบบเครือข่ายของคุณได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ริบบอน คอมมิวนิเคชันส์ อิงค์  ผู้ให้บริการระดับโลกด้านเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเรียลไทม์และโซลูชันเครือข่ายไอพีและออปติคัลแก่ผู้ให้บริการ องค์กรและผู้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญและรายใหญ่ที่สุดของโลกหลายแห่ง เพื่อยกระดับและปกป้องเครือข่ายของตนให้ทันสมัยและปลอดภัย

เฟซบุ๊กและกูเกิ้ลพากันลงทุนลิงค์เคเบิลใต้น้ำ ที่ยิงจากสิงคโปร์ไปสหรัฐฯ

ทางเฟซบุ๊กกำลังลงเงินสนับสนุนโครงการลากสายเคเบิลใต้น้ำข้ามทวีปอยู่สองโปรเจ็กต์ ที่เชื่อมต่อจากสิงคโปร์ไปยังชายฝั่งตะวันตกของสหรัฐฯ โดยมีบริษัทแม่ของกูเกิ้ลอย่าง Alphabet Inc. เข้าร่วมหนึ่งในโปรเจ็กต์ดังกล่าวด้วย

ประวัติศาสตร์ของสายเคเบิลอีเธอร์เน็ตประเภทต่างๆ ตั้งแต่ Cat 3 – Cat 8

อีเธอร์เน็ตถือกำเนิดเมื่อปี 1973 โดย Bob Metcalfe ในศูนย์วิจัย Xerox Palo Alto ด้วยการใช้สายทองแดงเส้นหนาแบบโคแอกเซียล โดยเวอร์ชั่นแรกสุดคือ 10BASE5 ใช้สายที่ใหญ่เทอะทะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเกือบครึ่งนิ้ว ต่อมาถึงขึ้นมาเป็น 10BASE2 ที่หันมาใช้สายเคเบิลที่หนาน้อยลงกว่าครึ่ง ยืดหยุ่นกว่าเดิม

ตามไปดู การทดสอบสายเคเบิลส่งข้อมูลแบบพิเศษของผู้ผลิตรายต่างๆ

ถ้าเราเลือกระบบสายเคเบิลที่ตรงตามมาตรฐานสากล ก็มั่นใจได้ว่าสามารถนำไปใช้กับรูปแบบการใช้งานต่างๆ ที่ออกแบบมาสำหรับสายเคเบิลประเภทนั้นๆ ได้ ผู้ออกแบบอุปกรณ์เครือข่ายต่างใช้สเปกตามมาตรฐานแต่ละประเภทในการสร้างและตรวจวัดอุปกรณ์ของตัวเอง

หัวต่อไฟเบอร์ Expanded Beam เป็นอย่างไร? และควรนำมาใช้ตอนไหน?

ในโลกของระบบโครงสร้างพื้นฐานทั้งฝั่ง Premises และในดาต้าเซ็นเตอร์นั้น พวกเราส่วนใหญ่มักคุ้นเคยกับหัวเชื่อมต่อสายไฟเบอร์อย่างเช่นหัวต่อดูเพล็กซ์แบบ LC, SC, และ ST หรือ MPO สำหรับมัลติไฟเบอร์ แต่บางคนอาจจะเคยได้ยินหัวเชื่อมต่อสายไฟเบอร์

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผนึกซิสโก้ มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พัฒนาศักยภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมทั้งองค์กร เพื่อการเป็น Digital University และ "ศูนย์การเรียนรู้เทคโนโลยีในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง"

วิธีทดสอบสาย Patch Cords และสาย Fiber Jumper – จุดอ่อนที่สุดของลิงก์

สายที่เชื่อมกับอุปกรณ์นั้นถือเป็นส่วนประกอบสำคัญบนเครือข่ายทุกแบบ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปสายไฟเบอร์จัมเปอร์ที่เชื่อมต่อระหว่างจุดชุมสายกับสวิตช์ในดาต้าเซ็นเตอร์ หรือเป็นสายทองแดงแพ็ตช์คอร์ดบนเครือข่ายแลนที่ไว้เชื่อมต่อออกมายังอุปกรณ์ปลายทางผ่านเต้าเสียบที่ให้บริการในพื้นที่ใช้งาน


View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า