ญี่ปุ่นทำลายสถิติโลก ความเร็วอินเทอร์เน็ตสูงถึง 319 เทราบิตต่อวินาที

ทางการญี่ปุ่นประกาศว่า ทีมวิศวกรของกลุ่มนักวิจัยจากสำนักเทคโนโลยีสื่อสารและไอทีแห่งชาติหรือ NICT ได้ทำลายสถิติความเร็วอินเทอร์เน็ตสูงสุดถึง 319 เทอราไบต์ต่อวินาที (Tb/s) ซึ่งมากกว่าสถิติโลกเดิมก่อนหน้าถึงสองเท่าที่เคยทำไว้เมื่อปี 2020

Fluke Networks เปิดเผยความสามารถใหม่ บนเครื่อง LinkIQ™ Cable+Network Tester

Fluke Networks ได้ประกาศการอัปเกรดเครื่อง LinkIQ™ Cable+Network Tester ที่ได้ขยายความครอบคลุมความสามารถในการทดสอบและแก้ปัญหาบนเครือข่ายไอพี, การทดสอบสายเคเบิลอีเธอร์เน็ตอุตสาหกรรม, และรองรับผู้ใช้เพิ่มเป็นถึง 12 ภาษา

บทความ : 5 เหตุผล ที่ว่าทำไมใช้สายแลนแบบ Ethernet ดีกว่าผ่าน Wi-Fi

ตอนนี้เราอยู่ในยุคไร้สายกันหมดแล้ว ไม่ว่ามองอย่างไรก็ไม่น่ากลับไปใช้สายเหมือนเดิมเอง จนทำให้เหล่าผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ทั้งหลายเริ่มเอาพอร์ตสายแลนออกจากแล็ปท็อปเพื่อแข็งกันบางเฉียบมากที่สุด แถมมาตรฐาน Wi-Fi 6E ล่าสุดยังเร็วระดับหลายร้อยเมกะไบต์

AIS Fibre เดินหน้าอุตสาหกรรมเน็ตบ้าน เผยยอดขายเติบโต 21%

ตลาดเน็ตบ้านมีความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา เนื่องจากการต้องกลับมาทำงานและเรียนที่บ้าน กลายเป็นหัวใจสำคัญในการเชื่อมโยงการขับเคลื่อนของระบบเศรษฐกิจ และการใช้ชีวิตของคนในยุค NOW Normal

คู่มือการเลือกเครื่องมือทดสอบสายเคเบิล ให้เหมาะกับความต้องการของคุณ

ทีมงานด้านเน็ตเวิร์ก หรือผู้ที่ได้รับการว่าจ้างสำหรับดูแลระบบโครงสร้างสายเคเบิล ไม่ว่าจะอยู่ในโรงพยาบาล, ธนาคาร, ดาต้าเซ็นเตอร์, ในสำนักงาน, หรือแม้แต่จะเป็นผู้วางระบบในหน้างานเหล่านี้ก็ตาม ล้วนถูกคาดหวังให้ทำงานได้เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิมอย่างต่อเนื่อง

บทความน่ารู้ : เน็ตเวิร์กที่เร็วขึ้น ก็ต้องการผลการทดสอบที่แม่นยำขึ้นด้วย

เราพบว่าทราฟิกทางดิจิตอลทั้งหมดที่ใช้งานกันตอนนี้มีค่าความเร็วเฉลี่ยอยู่ที่ 53.31 Mbps สำหรับการเชื่อมต่อผ่านอุปกรณ์พกพา และที่ 134.10 Mbps สำหรับการเชื่อมต่อแบบตายตัวทั่วไป ซึ่งส่วนใหญ่ก็หันมาใช้การเชื่อมต่อแบบไร้สายกับผู้ใช้ปลายทางกันหมดแล้ว ความเร็วระดับนี้เหนือกว่าสมัย 20 ปีที่แล้วมากถึง 1000 เท่าเลยทีเดียว

นักวิจัยค้นพบเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านสายไฟเบอร์ที่เพิ่มความเร็วได้มากถึง 100 เท่า

ดอกเตอร์ Haoran Ren ของมหาวิทยาลัย RMIT ในออสเตรเลีย ได้แถลงกับสื่อมวลชนว่า ค้นพบเทคนิคที่สามารถเพิ่มความเร็วให้อินเทอร์เน็ตได้กว่า 100 เท่า ด้วยการบิดทิศทางการยิงแสงภายในสายไฟเบอร์

หัวต่อ LC แบบโลหะ: บอกลาปัญหาเดือยหักของสายไฟเบอร์ไปได้เลย

แทนที่ต้องมานั่งเตรียมสายไฟเบอร์ทดสอบสำรองไว้หลายๆ เส้น หรือต้องสั่งซื้อสายใหม่มาใช้แทนอย่างเร่งรีบทุกครั้ง สู้ลองหันมาพิจารณาหัวต่อที่มีความทนทานสูงกว่าอย่างหัวต่อ LC แบบโลหะ (Metal LC) จะดีกว่า

จบเสียที! ปัญหาเสียงรบกวนตอนตรวจสายด้วย Toner และ Probe

แม้การติดป้ายรหัสสายตามมาตรฐาน ANSI/TIA-606-B จะถือเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดที่ควรทำ แต่เชื่อเถอะว่าหลายครั้งก็ลืมหรือรีบจนไม่ได้ทำป้ายติด หรือติดแล้วแต่ก็หาไม่เจอ มองไม่เห็นในเวลาที่ต้องการ ยิ่งไปกว่านั้น ลิงค์สายเคเบิลก็มักมีการโยกย้ายเปลี่ยนพอร์ตใหม่ไม่ว่าจะในตู้หรือห้องชุมสาย หรือแม้แต่ในดาต้าเซ็นเตอร์

7 สาเหตุสำคัญที่อาจจะส่งผลให้ระบบเน็ตเวิร์กของคุณ “อืดอาด”

เวลาหน่วงหรือ Latency นั้น เป็นส่วนต่างเวลาหรือดีเลย์ที่นับจากเมื่อมีการกระทำหรือตัดสินใจอะไรไป จนถึงเวลาที่งานดังกล่าวเสร็จสิ้น มองง่ายๆ ว่า ถ้าคลิกปุ๊บขึ้นปั๊บ กดปุ๊บได้ปั๊บ อันนี้คือเร็ว ไม่หน่วง แต่ถ้าคลิกลิงค์แล้วกว่าจะแสดงผลก็อืดอาด กดพิมพ์ตัวอักษรไปห้าหกตัวก็ยังค่อยๆ ขึ้นทีละตัวสองตัวไม่ทันใจ อันนี้เรียกหน่วงมาก


View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า