สถิติเผย การโจมตีแบบแรนซัมแวร์ปี 2020 ในอาเซียนลดลง

จากรายงาน Kaspersky Security Network (KSN) ฉบับล่าสุด ระบุว่ามีความพยายามในการโจมตีด้วยแรนซัมแวร์น้อยกว่าหนึ่งล้านครั้ง (804,513 ครั้ง) ในปี 2020 ซึ่งน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของปี 2019 ซึ่งมีการตรวจจับได้มากกว่า 1.9 ล้านครั้ง

โทรจันปล้นเงินชื่อ Rotexy ระบาดหนักกว่า 70,000 ครั้งภายในแค่ 3 เดือน

สปายแวร์บนอุปกรณ์พกพาที่มีพฤติกรรมเป็นโทรจันแฮ็กระบบธนาคาร แถมด้วยพิษสงแบบแรนซั่มแวร์ในชื่อ Rotexyหรือที่เคยถูกตรวจพบในชื่อเก่าอย่าง SMSThiefได้ไล่โจมตีเหยื่อมากถึง 70,000 กว่าครั้งภายในช่วงเวลาแค่สามเดือน

มัลแวร์ ZooPark บุกขโมยข้อมูลและบันทึกเสียงสนทนาบนแอนดรอยด์

Kaspersky Lab ตรวจพบการโจมตีทางไซเบอร์ครั้งใหม่เป็นมัลแวร์ที่ชื่อว่า ZooPark ที่จงใจดูดข้อมูลผู้ใช้แอนดรอยด์ทั้งหลายผ่านแอพแชตที่ชื่อ Telegram รวมทั้งฝังตัวตามเว็บชื่อดังทั้งหลาย

มีแอพฯ วอลเล็ตบิตคอยน์ “ปลอม” แฝงตัวอยู่บน Google Play Store

ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยไอทีจาก Lookout พบแอพวอลเล็ตสำหรับเงินบิตคอยน์ “ปลอม” จำนวน 3 แอพบน Play Store ซึ่งถูกสร้างขึ้นเพื่อขโมยข้อมูลเกี่ยวกับบิตคอยน์ของผู้ใช้ โดยหลอกให้โอนเงินบิตคอยน์ไปยังที่อยู่บิตคอยน์ของอาชญากร ซึ่งนักวิจัยเรียกแอพลักษณะนี้ว่า PickBitPocket

แฮ็กเกอร์ใช้ช่องโหว่บนเราท์เตอร์ Mikrotik เข้าไปฝังมัลแวร์ไว้บนเครื่องเหยื่อได้

นักวิจัยด้านความปลอดภัยจาก Tenable Research ได้เผยแพร่รายละเอียดวิธีการโจมตีหรือ Proof-of-Concept แบบรันโค้ดจากระยะไกลแบบใหม่ในงาน DerbyCon 8.0 ที่รัฐเคนตักกี้เมื่อวันอาทิตย์ที่แล้ว หลังพบการใช้ประโยชน์ของแฮ็กเกอร์ในวงกว้างจากช่องโหว่บนเราท์เตอร์ Mikrotik

อันตรายมาก !! นักวิจัยพบช่องโหว่บนชิป Wi-Fi สุดร้ายกาจชื่อ KrØØk

นักวิจัยด้านความปลอดภัยได้ตรวจพบว่ามีชิป Wi-Fi จาก Qualcomm และ MediaTek บางรุ่นมีช่องโหว่ที่เสี่ยงต่อข้อมูลรั่วไหลอย่าง KrØØk รุ่นล่าสุดด้วย ซึ่งถือเป็นช่องโหว่ที่อันตรายมาก ทำให้ตอนนี้พบชิปที่มีช่องโหว่นี้อยู่หลายแบรนด์มาก

Western Digital ระบบล่มเพราะโดนโจมตีทางไซเบอร์

Western Digital (WD) ออกมาเผยว่า ตนเองโดนโจมตีทางไซเบอร์จนทำให้บางระบบต้องปิดตัวลง โดยเมื่อวันที่ 3 เมษายนที่ผ่านมา บริษัทพบเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยบนเครือข่ายที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม ที่มีผู้ไม่ได้รับอนุญาตเข้าถึงหลายระบบ

แรนซั่มแวร์ตัวแสบ แอบใส่ลิงค์หลอกลวงเหยื่อขวัญอ่อนเพื่อขโมยข้อมูล PayPal

ทาง MalwareHunterTeam เผยการค้นพบแรนซั่มแวร์ที่เชื่อว่ายังอยู่ระหว่างการพัฒนา แต่นอกจากจะเข้ารหัสข้อมูลเหยื่อเพื่อเรียกค่าไถ่ตามปกติแล้ว ยังล่อให้เข้าไปหน้าเว็บหลอกลวงเพื่อดูดเอาข้อมูลบัตรเครดิตและรหัส PayPal อีกด้วย

10 สุดยอดซอฟต์แวร์ไฟร์วอลล์ให้ใช้ฟรีประจำปี 2020

ไฟร์วอลล์จึงทำงานเสมือนกำแพงกั้นระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณกับอินเทอร์เน็ต ที่คอยปัดกวาดทราฟิกที่ไม่ประสงค์ดีที่มาจากโลกภายนอกออกไป ไฟร์วอลล์ในตลาดนั้นมีทั้งที่เป็นแบบซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์

เมล์หลอกลวงแบบ BEC ใช้เหตุการณ์ไฟป่าในรัฐแคลิฟอร์เนีย แพร่ระบาดอย่างหนัก

ท่ามกลางความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงจากเหตุไฟป่าในสหรัฐฯ นั้น ก็ยังมีคนที่อาศัยช่องทางดังกล่าวหาประโยชน์ใส่ตัว ดังเช่นกรณีการระบาดของเมล์หลอกลวงทางธุรกิจหรือ BEC ที่อาศัยเรื่องนี้เป็นข้ออ้างในการดูดเงินจากเหยื่อ


View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า