Quantum Computing
หน้าแรก Quantum Computing
UltraRAM หน่วยความจำแบบใหม่ที่เร็วกว่า RAM 4,000 เท่า เก็บข้อมูลได้นานกว่า 1,000 ปี
จุดเด่นของ UltraRAM คือสามารถเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง ทางผู้พัฒนาอ้างว่า UltraRAM มีความทนทานมากกว่า NAND Flash อย่างน้อย 4,000 เท่า และสามารถเก็บข้อมูลได้นานกว่า 1,000 ปี
IBM และ AIST ตั้งเป้าพัฒนาคอมพิวเตอร์ควอนตัม 10,000 คิวบิต ภายในปี 2029
บริษัท IBM และสถาบันวิจัยชั้นนำของญี่ปุ่น "สถาบันเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นสูงแห่งชาติ (AIST)" ได้มีการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยร่วมกัน เพื่อผลักดันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ควอนตัมให้ใช้งานในภาคอุตสาหกรรม
IBM ผนึก Riken ติดตั้งระบบควอนตัมในศูนย์ประมวลผลด้านวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น
IBM ร่วมกับห้องปฏิบัติการวิจัยแห่งชาติ Riken ของญี่ปุ่น ประกาศแผนติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ควอนตัม IBM System Two ภายในศูนย์ Riken Center for Computational Science เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
Intel ได้สร้างระบบคอมพิวเตอร์ Neuromorphic computing ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ระบบนี้มีรหัสว่า Hala Point เป็นระบบที่ได้รับแรงบันดาลใจจากโครงสร้างของสมองมนุษย์ โดยใช้ชิประมวลผล Loihi 2 จำนวน 1,152 ตัว บรรจุอยู่ในตู้ขนาดเท่ากับเตาไมโครเวฟ เพื่อใช้ในดาต้าเซ็นเตอร์
IBM เตรียมเปิดดาต้าเซ็นเตอร์แบบควอนตัมแห่งแรกในยุโรป
IBM เปิดตัวแผนสร้างดาต้าเซ็นเตอร์แบบควอนตัม สำหรับบริการคลาวด์แห่งแรกในยุโรป โดยคาดว่าจะตั้งที่ศูนย์ IBM ในเมือง Ehningen ประเทศเยอรมนี น่าจะได้ใช้งานจริงประมาณปีหน้าในฐานะดาต้าเซ็นเตอร์ที่โฮสต์คลาวด์ควอนตัมในรีเจี้ยนยุโรป
10 อันดับซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลก ส่วน Frontier ยังรั้งตำแหน่งอันดับหนึ่งในโลก
สามครั้งซ้อนแล้วที่ Frontier ขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ในกลุ่มซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่ทำงานเร็วที่สุด และยังเป็นเครื่องเดียวในโลกที่ความเร็วพุ่งเกิน 1 exaFLOP โดยสามารถคำนวณคำตอบในรูปเลขทศนิยม (Floating Point) ได้มากถึง 1.194 ล้านล้านล้าน (Quintillion) ครั้งต่อวินาที
อังกฤษเตรียมตั้งศูนย์ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ที่ร่วมมือกับ IBM มีมูลค่ากว่า 30 ล้านปอนด์
https://www.itpro.com/server-storage/high-performance-computing-hpc/370062/30-million-ibm-linked-supercomputer-north-west-england
[ มีคลิป VDO] IBM เผยโฉมโปรเซสเซอร์ควอนตัมขนาด 433 คิวบิต พร้อมระบบแห่งอนาคต
IBM ประกาศความก้าวหน้าสำคัญครั้งใหม่ด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ควอนตัม พร้อมวิสัยทัศน์ในการบุกเบิกซูเปอร์คอมพิวเตอร์แบบ Quantum-Centric โดยในงาน IBM Quantum Summit ปีนี้ยังได้มีการเปิดเผยถึงโปรเซสเซอร์ตัวใหม่ ชื่อว่า โปรเซสเซอร์ 'Osprey'
IBM สร้างห้องหล่อเย็นใหญ่ที่สุดในโลกสำหรับควอนตัมคอมพิวเตอร์
IBM เผยแพร่บล็อกเมื่อปลายสัปดาห์ก่อนว่า ได้สร้างตู้เย็นขนาดยักษ์ที่ตั้งชื่อว่า โปรเจ็กต์ Glodeneye ที่สามารถทำเย็นให้กับระบบควอนตัมในอนาคต ชนิดที่ก้าวข้ามขีดจำกัดของห้องเย็นแบบเจือจางความร้อนด้วยฮีเลียม (Dilution Refrigerator) ที่มีอยู่ทั้งหมดในปัจจุบัน
ยักษ์ใหญ่สัญชาติจีน “ไป่ตู้” เปิดตัวคอมพิวเตอร์ควอนตัมเครื่องแรกของตัวเอง
เมื่อวันพฤหัสที่ผ่านมา "ไป่ตู้" (Baidu) ได้เผยโฉมคอมพิวเตอร์ควอนตัมเหนี่ยวนำสูง (Superconducting Quantum) เครื่องแรกของตัวเอง ที่มาพร้อมกันแบบครบเซ็ตทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และแอพพลิเคชัน ใช้ชื่อว่า “Qian Shi”