Kaspersky

หน้าแรก Vendors Kaspersky

10 สุดยอดแอนติไวรัสสำหรับแอนดรอยด์ เพื่อปกป้องอุปกรณ์พกพาได้ครอบคลุม 100%

แอพกว่า 40% เป็นแอพปลอม ที่ปกติควรจะช่วยสแกนอุปกรณ์ให้ กลับใช้แอพในการแสดงโฆษณาและหารายได้แทน ดังนั้นทาง GBHackers.com จึงได้รวบรวม 10 สุดยอดซอฟต์แวร์แอนติไวรัสสำหรับแอนดรอยด์ดังนี้

5 แนวทางในการป้องกันภัยไซเบอร์แบบดีฟเฟค (Deepfake)

จากการวิจัยของแคสเปอร์สกี้เรื่อง “Making Sense of Our Place in the Digital Reputation Economy” ได้สำรวจผู้ใช้โซเชียลมีเดีย 831 รายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกี่ยวกับระดับความกลัวต่อกระแสเทคโนโลยีในปัจจุบัน และพบว่าผู้ใช้จำนวนมากกว่าครึ่ง (62%) กลัวเทคโนโลยีดีฟเฟค (Deepfakes)

มัลแวร์ ZooPark บุกขโมยข้อมูลและบันทึกเสียงสนทนาบนแอนดรอยด์

Kaspersky Lab ตรวจพบการโจมตีทางไซเบอร์ครั้งใหม่เป็นมัลแวร์ที่ชื่อว่า ZooPark ที่จงใจดูดข้อมูลผู้ใช้แอนดรอยด์ทั้งหลายผ่านแอพแชตที่ชื่อ Telegram รวมทั้งฝังตัวตามเว็บชื่อดังทั้งหลาย

Kaspersky จัดเวิร์กชอปฟรี !! วิธีการป้องกันและเครื่องมือสำหรับจัดการ Ransomware

Kaspersky Lab ผู้ให้บริการระบบรักษาความปลอดภัยชั้นนำ ได้จัดงาน Free Workshop โดยจะแสดงให้คุณได้เห็นถึงวิธีการป้องกันภัยคุกคาม Ransomware ในหัวข้อ No Cry Over WannaCry ซึ่งจะช่วยให้คุณเรียนรู้เกียวกับภัยและการป้องกันไวรัสเรียกค่าไถ่ได้อย่างง่ายดาย

ฟิชชิ่งพยายามโจมตี SMB ในอาเซียน ส่วนไทยโดนไปเกือบ 7 แสนครั้ง

สำหรับฟิชชิ่งที่โจมตีเป้าหมายธุรกิจ SMB ที่มีพนักงาน 50 - 250 คนของแต่ละประเทศนั้น พบว่าอินโดนิเซียมีจำนวนสูงสุดในปี 2020 ตามด้วยไทยและเวียดนามที่จำนวนมากกว่าครึ่งล้านครั้ง ส่วนมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ เมื่อนับรวมความพยายามล่อให้เข้าเว็บไซต์ฟิชชิ่งของทั้งสามประเทศได้ 795,052 ครั้ง

โหลดฟรี ทูล “BitScout” สำหรับเก็บรวบรวมหลักฐาน หลังถูกจู่โจมไซเบอร์

ในการจู่โจมโจมตีทางไซเบอร์ส่วนมาก เจ้าของที่ถูกต้องตามกฎหมายของระบบที่ถูกโจมตีจากผู้บุกรุกนิรนามนั้นมักจะยินยอมให้ความร่วมมือ และให้ความช่วยเหลือแก่นักวิจัยด้านความปลอดภัยในการค้นหาเวคเตอร์ที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อ หรือรายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้บุกรุก

เยี่ยม ! เครื่องมือ “ถอดรหัส” Ransomware รวบรวมไว้ที่นี่แล้ว เกือบๆ 50 ชนิด !

Ransomware คือภัยอันตรายสำหรับทุกคน มันจะเข้ารหัสไฟล์ของเหยื่อพร้อมให้โอนเงินเพื่อปลดล็อกไฟล์ดังกล่าว ซึ่งก็ไม่แน่ว่าจะปลดล็อกได้หมดด้วยหรือไม่? ยิ่งปัจจุบัน Ransomware มาในหลายสายพันธุ์ และจะทำงานได้ดีมากกับเครื่องที่ไม่ได้รับการป้องกัน อาจจะผ่านทางฟิชชิ่งเมล์ เป็นต้น และเมื่อเหยื่อลองคลิกอีเมล์นั้น ก็เท่ากับเป็นการติดเชื้อเสียแล้ว ราคาค่าไถ่ก็แพงอยู่คิดเป็นเงินมากมาย และมีการคาดคะเนกันว่าต้นทุนในการจ่ายค่าไถ่กับไฟล์ Ransomware นั้นมีราวๆ 1 พันล้านเหรียญต่อปี โครงการ No More Ransam นั้นคือโปรเจ็กต์ที่ทางตำรวจในหน่วย National High Tech...

อุปกรณ์ Android กว่า 300,000 เครื่องโดนแฮ็กผ่านช่องโหว่ของ Chrome !!

ช่องโหว่ใน Chrome for Android กำลังถูกใช้เป็นช่องทางโจมตีด้วยการดาวน์โหลดแอพโทรจัน (.apk) เข้าสู่อุปกรณ์โดยไม่ต้องรอการยืนยันจากผู้ใช้ ซึ่งทำให้มีโฆษณาป๊อบอัพขึ้นมา หรือแม้กระทั้งข้อความที่แจ้งว่าคุณโดนไวรัส พร้อมล่อหลอกให้ดาวน์โหลดแอพอีกตัวมาแก้ไข
ransomware

ผลวิจัยจาก แคสเปอร์สกี้ ระบุว่า ปี 2016 เป็นปีแห่งแรนซัมแวร์ที่มากับสแปม

จากรายงานของแคสเปอร์สกี้ แลป หัวข้อ “Spam and phishing in 2016” พบว่าประมาณ 20% ของสแปมอีเมล์ทั้งหมดในไตรมาส 4 ปี 2016 กระจายเชื้อแรนซัมแวร์โทรจัน
#SambaCry

คำเตือน! มีกลุ่มแฮ็กเกอร์ใช้ช่องโหว่ SambaCry แฮ็กลีนุกส์อย่างหนัก

เมื่อเร็วๆ นี้ ทีมนักวิจัยจาก Kaspersky Lab ได้ตรวจพบการระบาดของมัลแวร์ที่อาศัยช่องโหว่ของ SambaCry เพื่อโจมตีคอมพิวเตอร์ลีนุกส์ ผ่านซอฟต์แวร์ขุดเหมืองบิทคอยน์ ซึ่งในขณะเดียวกันนั้น มีนักวิจัยด้านความปลอดภัยอีกท่านหนึ่งชื่อ Omri Ben Bassat ค้นพบการระบาดลักษณะเดียวกันนี้ พร้อมตั้งชื่อเหตุการณ์นี้ว่า “EternalMiner” หรือภาษาบ้านๆ คือ “ขุดไปเถอะ ขุดไปตลอดชาติก็ไม่ได้ตังค์”


View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า