Fluke Networks

หน้าแรก Vendors Fluke Networks

ทำความเข้าใจกับการตรวจความสมบูรณ์ของฉนวนสายเน็ตเวิร์ก

การทดสอบระบบสายเคเบิลแบบหุ้มปลอกตาข่าย (Screened) ที่หน้างานนั้น ผู้ทดสอบจำเป็นต้องตรวจให้แน่ใจว่ามีการหุ้มต่อเนื่องไปจนถึงปลายสาย อย่างไรก็ดี ก็มักพบการทดสอบหน้างานที่ไม่ได้ระบุความต่อเนื่องของปลอกตาข่ายหุ้มดีพอ

Fluke Networks เปิดตัว LinkIQ™ อุปกรณ์ที่ผสานเทคโนโลยีตรวจวัดสายและสวิตช์ในหนึ่งเดียว

Fluke Networks ได้ประกาศเปิดตัวอุปกรณ์ทดสอบชื่อ LinkIQ™ Cable+Network ที่รวมฟีเจอร์การตรวจสอบสวิตช์เข้ากับเทคโนโลยีตรวจวัดสายเคเบิลที่ได้การยอมรับเป็นอย่างดีของทางบริษัท ผลิตภัณฑ์นี้จะให้รายงานผลการทดสอบผ่าน/ไม่ผ่านที่ดูได้ง่ายผ่านซอฟต์แวร์ LinkWare ของทาง Fluke

ทำความรู้จักกับ “Profinet” อีเธอร์เน็ตด้านอุตสาหกรรม และวิธีทดสอบขั้นพื้นฐาน

ความแตกต่างระหว่าง Profinet และอีเธอร์เน็ตนั้นสามารถอธิบายได้ชัดเจนที่สุดผ่านมาตรฐานโมเดล ISO “7 เลเยอร์” นั่นคือ Profinet ไม่ใช่อีเธอร์เน็ต แต่เป็นโปรโตคอลหรือการประยุกต์ใช้บนเลเยอร์ 7 (Application) เหมือนกับ HTTP ที่เป็นโปรโตคอลสำหรับสื่อสารข้อมูลเว็บไซต์บนอีเธอร์เน็ต

Seymour Goldstein จาก Fluke Networks ได้รับรางวัล TIA Star Awards

สมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคมหรือ TIA ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ได้รับความน่าเชื่อถือในโลกแห่งการเชื่อมต่อนี้ ได้มอบรางวัล TIA Star Awards ให้คุณ Seymour Goldstein

LinkIQ-IE Cable+Network ระบุสาเหตุของปัญหาระบบอีเธอร์เน็ตอุตสาหกรรมได้

ทาง Fluke Networks ได้เปิดตัวอุปกรณ์ทดสอบอีเธอร์เน็ตอุตสาหกรรม LinkIQ-IE Cable+Network ที่ออกแบบมาสำหรับแก้ปัญหาสายเคเบิลบนเครือข่ายที่ถือเป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาการใช้งานระบบอีเธอร์เน็ตในโรงงาน

ทดสอบสายเคเบิล เพื่อระบบ AV ที่ให้ภาพสมบูรณ์แบบที่สุด

ไม่ว่าจะเป็นการประชุมผ่านวิดีโอหรือป้ายภาพแบบดิจิตอลนั้น ส่วนใหญ่คุณก็มักได้รับการร้องขอจากลูกค้าให้ติดตั้งระบบสายเคเบิลที่รองรับระบบภาพและเสียงหรือ Audio-Visual (AV)

การทดสอบสายไฟเบอร์: การแก้ปัญหา, ตรวจความถูกต้อง, และตรวจเทียบมาตรฐาน

สำหรับเครื่องทดสอบที่ใช้แก้ปัญหาและตรวจความถูกต้องของสายไฟเบอร์อย่างง่ายนั้น มีโซลูชั่น SimpliFiber Pro ที่มาพร้อมแหล่งกำเนิดแสงและเครื่องตรวจวัดที่นำมาใช้ร่วมกันสำหรับวัดค่าการสูญเสียบนสายไฟเบอร์ทั้งแบบซิงเกิลโหมดและมัลติโหมด

ความรู้พื้นฐาน 101 : การสไปซ์สายไฟเบอร์ ควรทำหรือไม่อย่างไร?

การสไปซ์สายไฟเบอร์ (Fiber Splicing) เป็นวิธีการเชื่อมไฟเบอร์สองเส้นเข้าด้วยกัน ด้วยการตัดสายไฟเบอร์ทั้งสองเส้นให้หน้าตัดคมสวยอย่างแม่นยำ แล้วเอามาวางต่อกันพร้อมเชื่อมสายด้วยเครื่องหลอมสไปซ์สาย

บทความน่ารู้ : รูปทรงหน้าตัดสายไฟเบอร์สำคัญอย่างไร

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคุณทำความสะอาดและตรวจสอบสายไฟเบอร์ไว้ดีแล้ว รวมทั้งทดสอบด้วยเครื่องมืออย่าง FI-7000 FiberInspector Pro แต่ก็ยังเจอปัญหาเชื่อมต่อสัญญาณกันอยู่ดี?

วิธีทดสอบสาย Patch Cords และสาย Fiber Jumper – จุดอ่อนที่สุดของลิงก์

สายที่เชื่อมกับอุปกรณ์นั้นถือเป็นส่วนประกอบสำคัญบนเครือข่ายทุกแบบ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปสายไฟเบอร์จัมเปอร์ที่เชื่อมต่อระหว่างจุดชุมสายกับสวิตช์ในดาต้าเซ็นเตอร์ หรือเป็นสายทองแดงแพ็ตช์คอร์ดบนเครือข่ายแลนที่ไว้เชื่อมต่อออกมายังอุปกรณ์ปลายทางผ่านเต้าเสียบที่ให้บริการในพื้นที่ใช้งาน


View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า