พบมัลแวร์ ตัวใหม่ “Mukashi” อาศัยช่องโหว่บนอุปกรณ์สตอเรจของ Zyxel ระบาดหนัก

อาชญากรไซเบอร์ได้ปล่อยมัลแวร์ Mirai พันธุ์ใหม่ที่ใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ที่เปิดให้รันโค้ดจากระยะไกล ที่เพิ่งมีการแพทช์เมื่อไม่นานมานี้ (CVE-2020-9054) บนอุปกรณ์สตอเรจที่เชื่อมต่อเน็ตเวิร์ก (NAS) ของแบรนด์ Zyxel

แฮ็กเกอร์เลว! ใช้เรื่องของโคโรน่าไวรัส เป็นเครื่องมือในการโจมตีทางไซเบอร์

โรคที่เกิดจากไวรัสโคโรน่าหรือ COVID-19 กำลังถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการโจมตีทางไซเบอร์หลากหลายรูปแบบด้วยไม่ว่าจะเป็นสแปมเมล์, BEC, มัลแวร์, แรนซั่มแวร์, หรือการใช้โดเมนปลอมเพื่อสร้างอันตราย

แรนซั่มแวร์ PXJ ลบทั้งข้อมูลแบ็กอัพ และไม่ยอมให้กู้ไฟล์ด้วย

นักวิจัยได้ค้นพบแรนซั่มแวร์สายพันธุ์ใหม่ที่ใช้ชื่อว่า Pxj ที่เข้ารหัสไฟล์ของผู้ใช้เป็นสกุล “.pxj” ซึ่งแรนซั่มแวร์สายพันธุ์ใหม่นี้ถูกค้นพบโดยทีมงาน X-Force Incident Response ของ IBM

T-Mobile โดนเจาะ แฮ็กเกอร์ดูดอีเมล์พนักงาน และข้อมูลความลับของผู้ใช้

ยักษ์ใหญ่ด้านโทรคมนาคมของสหรัฐฯ อย่าง T-Mobile โดนแฮ็กข้อมูลอีกครั้ง โดยเป็นข้อมูลบัญชีส่วนตัวของทั้งพนักงานและลูกค้า ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านี้ T-Mobile ก็เคยเกิดเหตุข้อมูลรั่วไหลมาแล้วในช่วงปีที่ผ่านมานี่เอง

เตือนภัยมัลแวร์ : ให้ระวังภัยแผนที่ COVID-19 จะกลายเป็นมัลแวร์อันตราย

การแพร่กระจายของไวรัส COVID-19 ทั่วโลกตอนนี้กลายเป็นช่องทางของพวกแฮ็กเกอร์ในการเผยแพร่โปรแกรมมัลแวร์โดยอาศัยความกลัวและความอยากรู้อยากเห็นของผู้คนทั่วโลกเกี่ยวกับการแพร่กระจายของไวรัสดังกล่าวในรูปแบบการแสดงผลการแพร่กระจายผ่านแผนที่แบบออนไลน์

รู้จัก 3 APT ปฏิบัติการไซเบอร์ร้ายโจมตีไทย FunnyDream – Cycldek – Zebrocy

ภูมิศาสตร์การเมืองนับเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่จะกำหนดแนวทางภัยคุกคามในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีที่แล้ว จากจำนวนเคสที่แคสเปอร์สกี้ตรวจสอบการโจมตีแบบ APT ที่พุ่งเป้าหมายที่ภูมิภาคนี้โดยเฉพาะ ได้ตรวจพบ กลุ่ม APT ที่โจมตีประเทศไทยในปี 2019 และปฏิบัติการต่อเนื่องในปี 2020 นี้

พบช่องโหว่ระบบเข้ารหัสของ WiFi ใหม่ kr00k ที่กระทบกับอุปกรณ์นับพันล้านเครื่อง

โดยช่องโหว่นี้ถูกตั้งชื่อว่า “Kr00k” ภายใต้รหัสช่องโหว่ CVE-2019-15126 เปิดช่องให้ผู้โจมตีที่อยู่ใกล้เคียงสามารถเข้ามารบกวนและถอดรหัสข้อมูลที่อยู่ในแพ๊กเก็ตข้อมูลที่วิ่งบนเครือข่ายไร้สายระหว่างอุปกรณ์ที่มีช่องโหว่ได้กลางอากาศเลย

มัลแวร์ LokiBot ปลอมตัวเอง เป็นโปรแกรมเปิดเกมล่อลวงผู้ใช้

มัลแวร์โทรจันชื่อ LokiBot ที่เคยระบาดครั้งแรกเมื่อปี 2015 ในฐานะตัวจารกรรมข้อมูลความลับทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน ข้อมูลเกี่ยวกับธุรกรรมทางการเงิน หรือแม้แต่ข้อมูลวอลเล็ตเก็บเงินคริปโตของคนทั่วโลกนั้น

10 สุดยอดซอฟต์แวร์ไฟร์วอลล์ให้ใช้ฟรีประจำปี 2020

ไฟร์วอลล์จึงทำงานเสมือนกำแพงกั้นระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณกับอินเทอร์เน็ต ที่คอยปัดกวาดทราฟิกที่ไม่ประสงค์ดีที่มาจากโลกภายนอกออกไป ไฟร์วอลล์ในตลาดนั้นมีทั้งที่เป็นแบบซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์

มัลแวร์ Emotet เริ่มหันมาแฮ็ก Wi-Fi ที่อยู่ใกล้เคียงเพื่อแพร่เชื้อ

โดยตัวอย่างมัลแวร์ Emotet ที่เพิ่งถูกค้นพบใหม่นี้มีความสามารถในการแพร่กระจายตัวเองไปยังเครือข่ายไร้สายข้างเคียงที่ไม่ได้มีการป้องกันดีพอ เพื่อไปติดเชื้ออุปกรณ์ภายในอีกทอดหนึ่ง


View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า